ประเทศจอร์แดน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความนี้เกี่ยวกับประเทศ สำหรับความหมายอื่น ดูที่ จอร์แดน (แก้ความกำกวม)
ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน
المملكة الأردنية الهاشمية (อาหรับ)
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
คำขวัญอาหรับ: الله، الوطن، الملك
(Allah Al-Watan Al-Malek)
("พระเจ้า, มาตุภูมิ, กษัตริย์")
เพลงชาติعاش المليك
("Long Live the King")

เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
อัมมาน
31°57′N 35°56′E / 31.950°N 35.933°E / 31.950; 35.933
ภาษาราชการ ภาษาอาหรับ
การปกครอง ราชาธิปไตยกึ่งภายใต้รัฐธรรมนูญ
 -  พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2
 -  นายกรัฐมนตรี อับดุลลอฮ์ อันนะซูร
ได้รับเอกราช
 -  จากสันนิบาตชาติ (ปกครองโดยสหราชอาณาจักร) 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 
พื้นที่
 -  รวม 92,300 ตร.กม. (111)
35,637 ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) ~0.01%
ประชากร
 -  ก.ค. 2553 (ประเมิน) 6,269,285[1] (102)
 -  2547 (สำมะโน) 5,611,202 
 -  ความหนาแน่น 68.4 คน/ตร.กม. (131)
138.8 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2556 (ประมาณ)
 -  รวม 40.143 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 
 -  ต่อหัว 6,134 ดอลลาร์สหรัฐ 
HDI (2556) 0.745 (สูง) (77)
สกุลเงิน ดีนาร์จอร์แดน (JD)
เขตเวลา UTC+2
 -  (DST) UTC+3 (UTC)
โดเมนบนสุด .jo
รหัสโทรศัพท์ 962

ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน (อังกฤษ: Hashemite Kingdom of Jordan; อาหรับ: المملكة الأردنية الهاشمية‎) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอร์แดน (อังกฤษ: Jordan; อาหรับ: الأردن‎) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอิรักทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับซาอุดีอาระเบียทางทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งติดต่อกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครองทางทิศตะวันตก

จอร์แดนเป็นประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล มีชายฝั่งทะเลเดดซีร่วมกับอิสราเอลและดินแดนที่อิสราเอลครอบครอง มีชายฝั่งอ่าวอะกอบาร่วมกับอิสราเอล ซาอุดีอาระเบีย และอียิปต์

เนื้อหา

ภูมิศาสตร์[แก้]

ดูบทความหลักที่: ภูมิศาสตร์จอร์แดน

ภูมิประเทศ[แก้]

เทือกเขาในจะรัช
อ่าวอะกอบา ตั้งชื่อตามเมืองอะกอบา ซึ่งเคยเป็นท่าเรือในสมัยโบราณ.

ภูมิอากาศ[แก้]

ร้อนแห้ง และมีฤดูหนาวที่เย็นและชื้นแบบเมดิเตอร์เรเนียน

ประวัติศาสตร์[แก้]

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์จอร์แดน

ยุคโบราณ[แก้]

ลานกลางแจ้งในสมัยโรมัน เมืองจะรัช.

ยุคกลาง จนถึง สงครามโลกครั้งที่ 1[แก้]

ทหารม้าของกองกำลังปฏิวัติอาหรับ – ชนพื้นเมืองในจอร์แดนและอาระเบีย ค.ศ. 1918.
Adyghe (Circassian) horsemanship ในทรานส์จอร์แดน เมษายน ค.ศ. 1921.

รัฐในอาณัติของสหราชอาณาจักร[แก้]

ดูบทความหลักที่: เอมิเรตส์ทรานส์จอร์แดน

ประกาศเอกราช[แก้]

จอมพล ฮามิส อัล-มาจาลี และ อดีตนายกรัฐมนตรี วาสไฟ อัล-ตาล.

การเมืองการปกครอง[แก้]

ดูบทความหลักที่: การเมืองในประเทศจอร์แดน

ระบอบการปกครอง ระบอบราชาธิปไตยกึ่งภายใต้รัฐธรรมนูญ สมเด็จพระราชาธิบดีธิบดีเป็นประมุขรัฐ

บริหาร[แก้]

ฝ่ายบริหาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล

นิติบัญญัติ[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐสภาจอร์แดน

ฝ่ายนิติบัญญัติ มี 2 สภา เรียกว่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (Majlis an-Nuwāb) และ สมาชิกวุฒิสภา (Majlis al-'Aayan) สมาชิกมาจากการเลือกตั้ง 150 คน

ตุลาการ[แก้]

ฝ่ายตุลาการ เป็นระบบศาลสูง (High Court) ระบบกฎหมายใช้กฎหมายอิสลามเป็นพื้นฐานผสมกับกฎหมายออตโตมัน-อียิปต์ โดยนำรูปแบบมาจากประมวลกฎหมายนโปเลียนเป็นประมวลกฎหมายแพ่งของฝรั่งเศส

สิทธิมนุษยชน[แก้]

ต่างประเทศ[แก้]

กองทัพ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพจอร์แดน
เครื่องยิงจรวดAB-19ของกองทัพบกขณะสวนสนาม

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

แผนที่ประเทศจอร์แดนแสดงเขตผู้ว่าราชการ

ประเทศจอร์แดนแบ่งการปกครองออกเป็น 12 เขตผู้ว่าราชการ (governorates) ซึ่งมีผู้ว่าราชการที่แต่งตั้งโดยสมเด็จพระราชาธิบดี เป็นเจ้าหน้าที่สำหรับทุกกรมของรัฐบาลและโครงการพัฒนาในแต่ละเขตเพียงผู้เดียว

เศรษฐกิจ[แก้]

ดูบทความหลักที่: เศรษฐกิจในประเทศจอร์แดน
Graphical depiction of Jordan's product exports in 28 color-coded categories.

ทรัพยากาณ์ธรรมชาติ[แก้]

โบกี้รถไฟกำลังวิ่งผ่านสถานีชุมทางแรม

การท่องเที่ยว[แก้]

เมื่องโบราณเบตาบารา ศาสนสถานของผู้ที่นับถือยอห์นผู้ให้บัพติศมา.

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

การคมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]

การศึกษา[แก้]

ดูบทความหลักที่: การศึกษาในประเทศจอร์แดน

สาธารณสุข[แก้]

ประชากรศาสตร์[แก้]

ชนชาติ[แก้]

ชาวอาหรับร้อยละ 98, ชาวอาร์มีเนียร้อยละ 1 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 1

ศาสนา[แก้]

มัสยิดอาดูดาร์วีซ
ศาสนาในประเทศจอร์แดน
ศาสนา %
อิสลาม
  
96%
คริสต์
  
4%

ภาษา[แก้]

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมจอร์แดน

วัฒนธรรมร่วมสมัย[แก้]

วรรณกรรม[แก้]

มุสตาฟา วาห์บิ อัลตัล กวีนิพนธ์ชาวจอร์แดน (ค.ศ. 1897–1949)

ดนตรี[แก้]

อาหาร[แก้]

ดูบทความหลักที่: อาหารจอร์แดน

สื่อสารมวลชน[แก้]

วันหยุด[แก้]

กีฬา[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]