เมตร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เมตร อักษรย่อ ม. (อังกฤษ: Metre[BrE] Meter[1][2][AmE] : m) เป็นหน่วยฐานเอสไอของความยาวในหน่วยเอสไอ แต่เดิมนิยามว่าหนึ่งเมตรเท่ากับ 1/10,000,000 ของระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรของโลกไปยังขั้วโลกเหนือวัดจากเส้นรอบวงที่ผ่านเมืองปารีส แต่เนื่องจากความแม่นยำทางมาตรวิทยา ที่มีมากขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ความยาวหนึ่งเมตรจึงถูกนิยามไว้ให้เท่ากับความยาวที่แสงเดินทางได้ในสุญญากาศ ในช่วงเวลา 1/299 792 458 วินาที

คำอุปสรรค[แก้]

หน่วยเมตรนิยมใช้กันในหลายหน่วยย่อยโดยคำอุปสรรคที่นิยมใช้คู่ได้แก่ กิโลเมตร มิลลิเมตร โดยหน่วยอุปสรรคทั้งหมดแสดงในตารางด้านล่าง

พหุคูณเอสไอสำหรับหน่วยเมตร (m)
พหุคูณย่อย พหุคูณใหญ่
ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ ค่า สัญลักษณ์ ชื่อ
10–1 m dm เดซิเมตร 101 m dam เดคาเมตร
10–2 m cm เซนติเมตร 102 m hm เฮกโตเมตร
10–3 m mm มิลลิเมตร 103 m km กิโลเมตร
10–6 m µm ไมโครเมตร (ไมครอน) 106 m Mm เมกะเมตร
10–9 m nm นาโนเมตร 109 m Gm จิกะเมตร
10–12 m pm พิโกเมตร 1012 m Tm เทระเมตร
10–15 m fm เฟมโตเมตร (เฟอร์มิ) 1015 m Pm เพตะเมตร
10–18 m am อัตโตเมตร 1018 m Em เอกซะเมตร
10–21 m zm เซปโตเมตร 1021 m Zm เซตตะเมตร
10–24 m ym ยอกโตเมตร 1024 m Ym ยอตตะเมตร
หน่วยที่นิยมใช้แสดงเป็นตัวหนา

การเปรียบเทียบกับหน่วยความยาวอื่น[แก้]

1 เมตร มีค่าเท่ากับ

อ้างอิง[แก้]

  1. [http://www1.bipm.org/utils/common/pdf/si_brochure_8.pdf Le Système international d’unités The International System of Units]
  2. Federal Register / Vol. 73, No. 96 / Friday, May 16, 2008 / Notices The Metric Conversion Act of 1975 gives the Secretary of Commerce of the US the responsibility of interpreting or modifying the SI for use in the US. The Secretary of Commerce delegated this authority to the Director of the National Institute of Standards and Technology (NIST)