หมู่เกาะโซโลมอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความนี้เกี่ยวกับหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก สำหรับหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย ดูที่ หมู่เกาะซาโลมอน
หมู่เกาะโซโลมอน
Solomon Islands (อังกฤษ)
ธงชาติ
คำขวัญTo Lead is to Serve
เพลงชาติก็อดเซฟอาวโซโลมอนไอส์แลนด์
God Save The Queen (เพลงสรรเสริญพระบารมี) 1
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
โฮนีอารา
9°28′S 159°49′E / 9.467°S 159.817°E / -9.467; 159.817
ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษ
การปกครอง ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
 -  ประมุข สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
 -  ผู้สำเร็จราชการ เซอร์แฟรงก์ กาบูอี
 -  นายกรัฐมนตรี กอร์ดอน ดาร์ซี ลีโล
เอกราช
 -  จาก สหราชอาณาจักร 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 
พื้นที่
 -  รวม 28,450 ตร.กม. (143)
ข้อผิดพลาดนิพจน์: "," เป็นอักขระที่ไม่รู้จัก ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) 3.2%
ประชากร
 -  ก.ค. 2548 (ประเมิน) 478,000 (166)
 -  ความหนาแน่น 17 คน/ตร.กม. (188)
44 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2545 (ประมาณ)
 -  รวม 800 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (200)
 -  ต่อหัว 1,700 ดอลลาร์สหรัฐ (189)
HDI (2546) 0.594 (กลาง) (128)
สกุลเงิน ดอลลาร์หมู่เกาะโซโลมอน (SBD)
เขตเวลา (UTC+11)
ระบบจราจร ซ้ายมือ
โดเมนบนสุด .sb
รหัสโทรศัพท์ 677

หมู่เกาะโซโลมอน (อังกฤษ: Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร

เนื้อหา

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูมิประเทศ[แก้]

มีลักษณะเป็นภูเขาไฟ จำนวนกว่า 10 เกาะ

ภูมิอากาศ[แก้]

แบบร้อนชื้น

ประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคก่อนประวัติศาสตร์[แก้]

หมู่เกาะโซโลมอน สันนิษฐานว่ามีคนอาศัยอยู่คนเกาะนี้มาแล้วเกือบ 2,000 ปีมาแล้ว หมู่เกาะนี้ถูกค้นพบเมื่อปี 1568 โดยชาวสเปนชื่อ กัปตันAlvaro de Mendana หลังจากนั้นมาเกาะโซโลมอน ก็ไม่มีใครเข้าไปเลยเป็นเวลากว่า 200 ปี

อาณานิคมเยอรมัน[แก้]

ดูบทความหลักที่: เยอรมันนิวกินี

ในปี 1886 ประเทศอังกฤษ กับ เยอรมนี ได้มีการแบ่งแยกดินแดนของเกาะโซโลมอน แต่ต่อมาภายหลังประเทศ สหราชอาณาจักรอังกฤษได้เป็นผู้ถือครองเกาะแห่งนี้แต่เพียงผู้เดียว

อาณานิคมสหราชอาณาจักร[แก้]

ดูบทความหลักที่: อาณานิคมหมู่เกาะโซโลมอน

ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง โซโลมอนเป็นที่หมายปองของคู่สงคราม เพราะเป็นจุดพักระหว่างทางของการขนส่งสินค้าในมหาสมุทรแปซิฟิค และ มีทะเลล้อมรอบ จึงรบเพียงแค่ทางเรือ และ ทางอากาศ โดยมีทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม และ อุดมสมบูรณ์จึงได้ชื่อว่า Pearl of Pacific (ไข่มุกแห่งแปซิฟิค) โดยกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นได้บุกรุกเข้ามาในเกาะนี้ช่วงต้นของสงคราม แต่กองทัพสหราชอาณาจักรก็สามารถยึดครองดินแดนกลับมาได้อีกครั้งในปี 1945 ในปี 1976 เกาะแห่งนี้กลายเป็นดินแดนที่สามารถปกครองตนเองได้และได้รับเอกราช ในวันที่ 7 กรกฎาคม 1978 และได้เข้าเป็นภาคีสหประชาชาติเมื่อ 19 กันยายน 1978

การเมืองการปกครอง[แก้]

บริหาร[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลหมู่เกาะโซโลมอน

นิติบัญญัติ[แก้]

อำนาจนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภาแห่งชาติ ซึ่งเป็นสภาเดียว ประกอบด้วยสมาชิกสภา 30-50 คน โดยกระจายอำนาจ แบ่งเป็น 4 ภาค แต่ละภาคมีสภาปกครองท้องถิ่น 8 แห่ง สมาชิกสภาปกครองท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้ง

ตุลาการ[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

หมู่เกาะโซโลมอนแบ่งเป็น 9 จังหวัด (provinces) และ 1 เขตเมืองหลวง*:

กองทัพ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพหมู่เกาะโซโลมอน

กองทัพบก[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพบกโซโลมอน

กองทัพอากาศ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพอากาศโซโลมอน

กองทัพเรือ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพเรือโซโลมอน

กองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

เศรษฐกิจการคลัง[แก้]

เศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับการเกษตรเป็นหลัก ประมาณร้อยละ 90 ของจำนวนประชากร มีอาชีพกสิกรรม ทำป่าไม้ และประมง มีรายได้จากการส่งออกประมาณปีละ 60 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

รัฐบาลหมู่เกาะโซโลมอนพยายามชักชวนให้ประเทศต่าง ๆ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหราชอาณาจักร มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เข้าไปร่วมทุนในสาขาต่าง ๆ โดยเฉพาะการท่องเที่ยว การผลิตไม้แปรรูปเพื่อส่งออก การผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป เป็นต้น รัฐบาลได้วางกฎเกณฑ์ เพื่อส่งเสริมการ ลงทุน โดยการลดภาษีการค้า ยกเว้นภาษีวัตถุดิบและเครื่องจักรกลสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม เป็นเวลา 5 ปี และไม่มีข้อห้ามสำหรับการส่งผลกำไรออกนอกประเทศ

การท่องเที่ยว[แก้]

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

คมนาคม[แก้]

โทรคมนาคม[แก้]

การศึกษา[แก้]

สาธารณสุข[แก้]

สวัสดิการสังคม[แก้]

ประชากรศาสตร์[แก้]

เชื้อชาติ[แก้]

ประกอบด้วยชาวเมลานีเซียซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่ของประเทศ มีชาวไมโครนีเซีย ยุโรปและเอเชียเล็กน้อย ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอังกลิเคน ร้อยละ 34 โรมันคาทอลิก ร้อยละ 19 และอีวันเจลิคอน ร้อยละ 24

ศาสนา[แก้]

ภาษา[แก้]

ดูบทความหลักที่: ภาษาในหมู่เกาะโซโลมอน

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมหมู่เกาะโซโลมอน

สถาปัตยกรรม[แก้]

เครื่องดนตรีพื้นเมือง[แก้]

วัฒนธรรมร่วมสมัย[แก้]

สื่อมวลชน[แก้]

วันหยุด[แก้]

กีฬา[แก้]

ฟุตบอล[แก้]

รักบี้[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

คุณสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับ หมู่เกาะโซโลมอน ได้โดยค้นหาจาก
โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย :
Wiktionary-logo-th.png หาความหมาย จากวิกิพจนานุกรม
Wikibooks-logo.svg หนังสือ จากวิกิตำรา
Wikiquote-logo.svg คำคม จากวิกิคำคม
Wikisource-logo.svg ข้อมูลต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ
Commons-logo.svg ภาพและสื่อ จากคอมมอนส์
Wikinews-logo.svg เนื้อหาข่าว จากวิกิข่าว
Wikiversity-logo-en.svg แหล่งเรียนรู้ จากวิกิวิทยาลัย
รัฐบาล
ข้อมูลทั่วไป
การศึกษา
ด้านการท่องเที่ยว