ประเทศเติร์กเมนิสถาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เติร์กเมนิสถาน
Türkmenistan (เติร์กเมน)
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
เพลงชาติGaraşsyz, baky Bitarap Türkmenistanyň Döwlet Gimni
(เอกราช, ความเป็นกลาง, เพลงประจำรัฐเติร์กเมนิสถาน)
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
อาชกาบัต
37°58′N 58°20′E / 37.967°N 58.333°E / 37.967; 58.333
ภาษาราชการ ภาษาเติร์กเมน
การปกครอง รัฐรวมระบบประธานาธิบดี
 -  ประธานาธิบดี1 กูร์บันกูลืย เบียร์ดีมูฮาเมดอฟ
ได้รับเอกราช จากสหภาพโซเวียต 
 -  ประกาศ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2534 
 -  เป็นที่ยอมรับ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2534 
พื้นที่
 -  รวม 488,100 ตร.กม. (52)
188,457 ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) 4.9%
ประชากร
 -  2549 (ประเมิน) 5,042,920 (1122)
 -  ความหนาแน่น 10 คน/ตร.กม. (173)
26 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
 -  รวม 29.38 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (94)
 -  ต่อหัว 5,900 ดอลลาร์สหรัฐ (92)
HDI (2546) 0.738 (กลาง) (97)
สกุลเงิน มานัต (TMM)
เขตเวลา (UTC+5)
 -  (DST)  (UTC+6)
โดเมนบนสุด .tm
รหัสโทรศัพท์ 993
1.) อันดับที่ (rank) เป็นข้อมูลปี 2548

เติร์กเมนิสถาน (เติร์กเมน: Türkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน เติร์กเมนิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต

ภูมิศาสตร์[แก้]

ประวัติศาสตร์[แก้]

การเมืองการปกครอง[แก้]

บริหาร[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลเติร์กเมนิสถาน

นิติบัญญัติ[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐสภาเติร์กเมนิสถาน

ตุลาการ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กฎหมายเติร์กเมนิสถาน


สถานการณ์การเมือง[แก้]

สิทธิมนุษยชน[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ประเทศเติร์กเมนิสถานแบ่งออกเป็น 5 จังหวัด (provinces - welayatlar) กับ 1 นครอิสระ (independent city) ได้แก่

TurkmenistanNumbered.png

เขตการปกครอง รหัสภูมิศาสตร์ เมืองหลวง เนื้อที่ (ตร.กม.) จำนวนประชากร (2538) หมายเลข
กรุงอาชกาบัต (Ashgabat) 604,000
จังหวัดอะฮัล (Ahal) TM-A อาชกาบัต (Ashgabat) 95,000 722,800 1
จังหวัดบัลคัน (Balkan) TM-B บัลคานาบัต (Balkanabat) 138,000 424,700 2
จังหวัดดัชโฮวุซ (Dashhowuz) TM-D ดาโชกุซ (Daşoguz) 74,000 1,059,800 3
จังหวัดเลบัป (Lebap) TM-L เติร์กเมนาบัต (Turkmenabat) 94,000  1,034,700 4
จังหวัดมารืย (Mary) TM-M มารืย (Mary) 87,000 1,146,800 5

กองทัพ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพเติร์กเมนิสถาน

กองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

โครงสร้างทางเศรษฐกิจ[แก้]

เกษตรกรรม[แก้]

พืชที่สำคัญได้แก่ ฝ้ายและธัญพืช สัตว์เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นปศุสัตว์ ได้แก่ แพะ โค และสัตว์ปีก

พลังงาน[แก้]

เศรษฐกิจหลักของเติร์กเมนิสถานอยู่บนพื้นฐานอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ขณะที่อุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้แก่ สิ่งทอและอาหาร

การส่งออกพลังงาน[แก้]

การท่องเที่ยว[แก้]

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

คมนาคม[แก้]

โทรคมนาคม[แก้]

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]

การศึกษา[แก้]

สาธารณสุข[แก้]

สวัสดิการสังคม[แก้]

ประชากร[แก้]

เชื้อชาติ[แก้]

ศาสนา[แก้]

ชาวเติร์กเมนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม 85% ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาบาไฮ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ และไสยศาสตร์ 5%

ภาษา[แก้]

กีฬา[แก้]

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมเติร์กเมนิสถาน

วรรณกรรม[แก้]

สถาปัตยกรรม[แก้]

ดนตรี[แก้]

อาหาร[แก้]

วันหยุด[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

คุณสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับ ประเทศเติร์กเมนิสถาน ได้โดยค้นหาจาก
โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย :
Wiktionary-logo-th.png หาความหมาย จากวิกิพจนานุกรม
Wikibooks-logo.svg หนังสือ จากวิกิตำรา
Wikiquote-logo.svg คำคม จากวิกิคำคม
Wikisource-logo.svg ข้อมูลต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ
Commons-logo.svg ภาพและสื่อ จากคอมมอนส์
Wikinews-logo.svg เนื้อหาข่าว จากวิกิข่าว
Wikiversity-logo-en.svg แหล่งเรียนรู้ จากวิกิวิทยาลัย
รัฐบาล
การศึกษา
การท่องเที่ยว
อื่นๆ