ประเทศโครเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก โครเอเชีย)
สาธารณรัฐโครเอเชีย
Republika Hrvatska (โครเอเชีย)
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
คำขวัญไม่มี
เพลงชาติลิเยปา นาชา โดโมวีโน
Our beautiful homeland


เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
ซาเกร็บ
45°48′N 16°0′E / 45.800°N 16.000°E / 45.800; 16.000
ภาษาราชการ ภาษาโครเอเชีย1
การปกครอง สาธารณรัฐ
 -  ประธานาธิบดี โคลินดา กราเบอร์-คีตาโรวิก[1]
 -  นายกรัฐมนตรี ซอรัน มีลานอวิช
ได้รับเอกราช
 -  จาก ยูโกสลาเวีย 25 มิถุนายน พ.ศ. 2534 
พื้นที่
 -  รวม 56,542 ตร.กม. (124)
21,831 ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) 0.01
ประชากร
 -  ก.ค. 2547 (ประเมิน) 4,496,869 (117)
 -  2544 (สำมะโน) 4,437,460 
 -  ความหนาแน่น 83 คน/ตร.กม. (116)
215 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
 -  รวม 55.638 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (72)
 -  ต่อหัว 12,364 ดอลลาร์สหรัฐ (56)
HDI (2556) 0.812 (สูงมาก) (47)
สกุลเงิน คูนา  (HRK)
เขตเวลา CET (UTC+1)
 -  (DST) CEST (UTC+2)
โดเมนบนสุด .hr
รหัสโทรศัพท์ 385
1ใช้ภาษาอิตาลีในเทศมณฑลอิสเตรียด้วย

โครเอเชีย (อังกฤษ: Croatia; โครเอเชีย: Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (อังกฤษ: Republic of Croatia; โครเอเชีย: Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต

ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งจะมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28

เนื้อหา

ภูมิศาสตร์[แก้]

โครเอเชียตั้งอยู่ระหว่างภูมิภาคยุโรปกลาง ภูมิภาคยุโรปใต้ และภูมิภาคยุโรปตะวันออก รูปร่างของประเทศคล้ายกับพระจันทร์เสี้ยวหรือเกือกม้า ซึ่งช่วยให้สามารถติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ได้แก่ สโลวีเนีย ฮังการี เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา มอนเตเนโกร และอิตาลี (อีกฟากหนึ่งของทะเลเอเดรียติก) โดยแผ่นดินใหญ่ของโครเอเชียถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนไม่ติดต่อกันโดยชายฝั่งทะเลสั้น ๆ ของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รอบ ๆ เมืองเนอุม (Neum)

ภูมิประเทศของโครเอเชียมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่

  • ที่ราบ ทะเลสาบ และเนินเขา ทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชียและสลาโวเนีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของที่ราบพันโนเนีย)
  • ภูเขาที่มีป่าไม้หนาแน่นในภูมิภาคลีคาและกอร์สกีคอตาร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาดินาริกแอลป์
  • ชายฝั่งทะเลเอเดรียติกที่เต็มไปด้วยโขดหิน (ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และแดลเมเชีย)

ประวัติศาสตร์[แก้]

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์โครเอเชีย

ยุคก่อนประวัติศาสตร์[แก้]

ยุคกรีก และ โรมัน[แก้]

ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก และ ออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1538–1918)[แก้]

ยูโกลสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1991)[แก้]

ร่วมสมัย[แก้]

การเมืองการปกครอง[แก้]

บริหาร[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลโครเอเชีย

นิติบัญญัติ[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐสภาแห่งโครเอเชีย

ตุลาการ[แก้]

ดูบทความหลักที่: ศาลสูงสุดโครเอเชีย

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

โครเอเชียแบ่งออกเป็น 20 เทศมณฑล (counties - županija) กับ 1 เขตเมืองหลวง* จัดกลุ่มรายชื่อโดยแบ่งตามภูมิภาคทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์: แม่แบบ:Croatian counties

เทศมณฑล Seat พื้นที่ (km²) ประชากร
2011 Census
ภูมิภาคเซนทรัลโครเอเชีย (Central Croatia)
City of Zagreb ซาเกร็บ 641 792,875
เทศมณฑลซาเกร็บ ซาเกร็บ 3,078 317,642
บีเยลอวาร์-บีลอกอรา บีลอกอรา 2,652 119,743
คาร์โลวัตส์ คาร์โลวัตส์ 3,622 128,749
วาราชดีน วาราชดีน 1,261 176,046
คอพรีฟนีตซา-ครีเชฟต์ซี คอพรีฟนีตซา 1,746 115,582
คราพีนา-ซากอเรีย คราพีนา 1,224 133,064
ซีซาค-มอสลาวีนา ซีซาค 4,463 172,977
เมดจีมูเรีย Čakovec 730 114,414
ภูมิภาคอิสเตรีย นอร์เทิร์นซีโคสต์ และ เมาน์เทนัสโครเอเชีย
ลีคา-เซนย์ Gospić 5,350 51,022
พรีมอเรีย-กอร์สกีคอตาร์ Rijeka 3,582 296,123
อิสเตรีย Pazin 2,820 208,440
ภูมิภาคสลาโวเนีย (Slavonia)
วีรอวีตีตซา-พอดราวีนา พอดราวีนา 2,068 84,586
พอเชกา-สลาโวเนีย พอเชกา 1,845 78,031
บรอด-พอซาวีนา Slavonski Brod 2,043 158,559
โอซีเยก-บารานยา โอซีเยก 4,152 304,899
ซีร์เมีย วูคอวาร์ 2,448 180,117
ภูมิภาคดัลเมเชีย (Dalmatia)
ซาดาร์ ซาดาร์ 3,642 170,398
ชีเบนิค-คนีน ชีเบนิค 2,939 109,320
สปลิต-ดัลเมเชีย สปลิต 4,534 455,242
ดูบรอฟนิก-เนเรตวา ดูบรอฟนิก 1,783 122,783

นโยบายต่างประเทศ[แก้]

ความสัมพันธ์กับสหภาพยุโรป[แก้]

ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย[แก้]

ความสัมพันธ์โครเอเชีย – ไทย
Map indicating location of โครเอเชีย and ไทย

โครเอเชีย

ไทย
  • ด้านการทูต
  • การค้าและเศรษฐกิจ
  • การท่องเที่ยว

กองทัพ[แก้]

กองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

  • สำหรับนโยบายเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐบาลชุดปัจจุบัน ได้แก่ การปฏิรูปเศรษฐกิจให้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีบทบาทในทางเศรษฐกิจมากขึ้น ออกกฎหมายเพื่อส่งเสริมการค้าการลงทุนจากต่างประเทศ โดยได้ประกาศนโยบายที่มุ่งสร้างเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค รักษาเสถียรภาพของค่าเงินสกุลคูน่า (Kuna) คงระดับอัตราเงินเฟ้อ เพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ใช้มาตรการดึงดูดคู่ค้าและนักลงทุนมากขึ้น รวมถึงการเร่งแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

การท่องเที่ยว[แก้]

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

การคมนาคม[แก้]

  • รัฐบาลโครเอเชียยังมีโครงการสนับสนุนการลงทุนด้านท่าเรือ ซึ่งเป็นโครงการระยะยาว เนื่องจากเห็นว่า การลงทุนด้านนี้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโครเอเชีย ช่วยให้เกิดการขนส่ง การก่อสร้างถนน ทางรถไฟ และธุรกิจบริการเกี่ยวกับบริษัทขนส่งสินค้าต่างๆ โดยรัฐบาลได้สนับสนุนเงินกู้จำนวนหนึ่งเพื่อสร้างถนนเชื่อมโยงกับเส้นทางของฮังการี ปรับปรุงทางรถไฟและสาธารณูปโภคอื่นๆ ทั้งนี้ โครเอเชียมีชายฝั่งทะเลที่ยาวกว่า 5,000 กิโลเมตร และเต็มไปด้วยเกาะแก่งต่างๆ ถึง 1,185 เกาะ จึงมีความจำเป็นต้องจัดการคมนาคมขนส่งทางน้ำเพื่อเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้งดูแลชายฝั่งทะเลซึ่งมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ และการก่อสร้างถนนหนทางภาคพื้นดินภายในประเทศเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ำ โครเอเชียมีท่าเรือ Rijeka ใช้ขนถ่ายและกระจายสินค้าได้ มีโครงการปรับปรุงเส้นทางขนส่ง โดยเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549 ซึ่งจะเป็นเส้นทางคมนาคมทางบกที่รวดเร็วที่สุดระหว่างเอเชียและยุโรปกลาง

โทรคมนาคม[แก้]

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]

การศึกษา[แก้]

สาธารณสุข[แก้]

สวัสดิการสังคม[แก้]

ประชากรศาสตร์[แก้]

เชื้อชาติ[แก้]

4.5 ล้านคน ประกอบด้วยชาวโครอัท (89.6%) ชาวเซิร์บ (4.54%) และอื่นๆ ได้แก่ ชาวบอสเนีย ฮังกาเรียน สโลวีน เช็ก (5.9%)

ศาสนา[แก้]

ดูบทความหลักที่: ศาสนาในโครเอเชีย
Religion in Croatia[2]
religion percent
โรมันคาทอลิก
  
86.3%
Atheism or Agnosticism
  
6.7%
ออร์ทอดอกซ์
  
4.4%
ศาสนาอิสลาม
  
1.5%
โปรเตสแตนต์
  
0.3%
อื่นๆ และ ไม่นับถือศาสนา
  
0.4%

ภาษา[แก้]

ดูบทความหลักที่: ภาษาในโครเอเชีย

กีฬา[แก้]

ฟุตบอล[แก้]

วอลเลย์บอล[แก้]

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมโครเอเชีย

สถาปัตยกรรม[แก้]

วรรณกรรม[แก้]

อาหาร[แก้]

ดนตรี[แก้]

สื่อสารมวลชน[แก้]

ดูบทความหลักที่: สื่อสารมวลชนในโครเอเชีย

วันหยุด[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRReU1UQTFOekEyTVE9PQ==&subcatid=
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Census2011-religion

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

คุณสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับ ประเทศโครเอเชีย ได้โดยค้นหาจาก
โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย :
Wiktionary-logo-th.png หาความหมาย จากวิกิพจนานุกรม
Wikibooks-logo.svg หนังสือ จากวิกิตำรา
Wikiquote-logo.svg คำคม จากวิกิคำคม
Wikisource-logo.svg ข้อมูลต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ
Commons-logo.svg ภาพและสื่อ จากคอมมอนส์
Wikinews-logo.svg เนื้อหาข่าว จากวิกิข่าว
Wikiversity-logo-en.svg แหล่งเรียนรู้ จากวิกิวิทยาลัย