ประเทศจาเมกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จาเมกา
Jamaica (อังกฤษ)
ธงชาติ ตราแผ่นดิน
คำขวัญOut of many, one people
"จากคนหมู่มากรวมเป็นหนึ่ง"
เพลงชาติจาเมกา แลนด์วีเลิฟ
"Jamaica, Land We Love"
"จาเมกา ดินแดนที่พวกเรารัก"
เพลงสรรเสริญพระบารมีก็อดเซฟเดอะควีน1
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
คิงส์ตัน
17°59′N 76°48′W / 17.983°N 76.800°W / 17.983; -76.800
ภาษาราชการ ภาษาอังกฤษ
การปกครอง ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
 -  ประมุข สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
 -  ผู้สำเร็จราชการ เคนเนท ฮอลล์
 -  นายกรัฐมนตรี พอร์เชีย ซิมป์สัน-มิลเลอร์
เอกราช
 -  จาก สหราชอาณาจักร 6 สิงหาคม พ.ศ. 2505 
พื้นที่
 -  รวม 10,991 ตร.กม. (159)
4,244 ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) 1.5%
ประชากร
 -  ก.ค. 2548 (ประเมิน) 2,651,000 (138)
 -  ความหนาแน่น 252 คน/ตร.กม. (32)
652.7 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
 -  รวม 11.69 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (131)
 -  ต่อหัว 4,300 ดอลลาร์สหรัฐ (114)
HDI (2546) 0.738 (ปานกลาง) (98)
สกุลเงิน ดอลลาร์จาเมกา ($) (JMD)
เขตเวลา (UTC-5)
ระบบจราจร ซ้ายมือ
โดเมนบนสุด .jm
รหัสโทรศัพท์ 876
1God Save The Queen เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการ แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้ในพระราชพิธีเท่านั้น

จาเมกา (อังกฤษ: Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม. และกว้าง 85 กม. และตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน มันมีระยะห่าง 635 กม. ไปทางตะวันออกของแผ่นดินใหญ่แห่งภูมิภาคอเมริกากลาง มีระยะห่าง 150 กม. ไปทางใต้ของคิวบา และ 180 กม. ไปทางตะวันตกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งเป็นที่ตั้งของเฮติและสาธารณรัฐโดมินิกัน

เนื้อหา

ที่มาของชื่อประเทศ[แก้]

ชื่อประเทศ "จาเมกา" นั้นมาจากการเรียกขานเกาะของชนพื้นเมืองตาอีโน (Taíno) ที่พูดภาษาอาราวัก (Arawakan) ที่เรียกเกาะนี้ว่า "ฌาเมคา" (Xaymaca) ซึ่งแปลได้เป็นสองความหมายคือ "ดินแดนแห่งใบไม้ผลิ" หรือ "แดนแห่งป่าและน้ำ" จาเมกาเคยตกอยู่ใต้อาณัติของสเปนในสมัยราชวงศ์ฮัปสบูร์ก ซึ่งเรียกเกาะนี้ว่า ซันเดียโก (Santiago) จากนั้นจึงตกอยู่ในการครอบครองของราชอาณานิคมอินดีสตะวันตกแห่งบริเตน (British Crown Colony of West Indies) ที่แปลงคำภาษาพื้นเมืองที่ใช้เรียกชื่อเกาะ จากฌาเมคา มาเป็นจาเมกาซึ่งกลายเป็นชื่อของเกาะและประเทศที่อยู่บนเกาะนั้นมาจนถึงทุกวันนี้ ประชากรของจาเมกาส่วนใหญ่ประกอบด้วยผู้สืบเชื้อสายมาจากทาสชาวแอฟริกัน จาเมกายังเป็นประเทศที่ประชากรพูดและเขียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักมากที่สุดในทวีปอเมริกาทั้งเหนือ, กลางและใต้เป็นอันดับสาม รองจากสหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยทั่วไปแล้ว คนไทยมักอ่านออกเสียง "จาเมกา" เป็น "จาไมกา" (อ่านออกเสียงว่า จา-ไม-ก้า) เสียมากกว่า

ภูมิศาสตร์[แก้]

ประวัติศาสตร์[แก้]

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์จาเมกา

อาณานิคมสเปน[แก้]

อาณานิคมอังกฤษ[แก้]

ศตวรรษที่ 20[แก้]

การเมืองการปกครอง[แก้]

นิติบัญญัติ[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐสภาแห่งจาเมกา

บริหาร[แก้]

ดูบทความหลักที่: รัฐบาลจาเมกา

ตุลาการ[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ดูบทความหลักที่: เขตการปกครองของจาเมกา

นโยบายต่างประเทศ[แก้]

กองทัพ[แก้]

ดูบทความหลักที่: กองทัพจาเมกา

กองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

โครงสร้าง[แก้]

สถานการณ์เศรษฐกิจ[แก้]

การท่องเที่ยว[แก้]

ดูบทความหลักที่: การท่องเที่ยวในจาเมกา

สถานที่ท่องเที่ยว[แก้]

โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]

คมนาคม[แก้]

โทรคมนาคม[แก้]

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]

การศึกษา[แก้]

ดูบทความหลักที่: การศึกษาในจาเมกา

สาธารณสุข[แก้]

สวัสดิการสังคม[แก้]

ประชากรศาสตร์[แก้]

เชื้อชาติ[แก้]

ศาสนา[แก้]

ดูบทความหลักที่: ศาสนาในจาเมกา

ภาษา[แก้]

ดูบทความหลักที่: ภาษาในจาเมกา

วัฒนธรรม[แก้]

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมจาเมกา

อาหาร[แก้]

ดนตรี[แก้]

สื่อสารมวลชน[แก้]

ดูบทความหลักที่: สื่อสารมวลชนในจาเมกา

กีฬา[แก้]

วันหยุด[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แม่แบบ:Spoken Wikipedia-2

Governmental Details
General information