ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
Bosna i Hercegovina (บอสเนีย)
Bosna i Hercegovina (โครเอเชีย)
Bosna i Hercegovina;
Босна и Херцеговина
(เซอร์เบีย)
ตราแผ่นดิน
คำขวัญไม่มี
เพลงชาติIntermeco
เมืองหลวง
(และเมืองใหญ่สุด)
ซาราเยโว
43°52′N 18°25′E / 43.867°N 18.417°E / 43.867; 18.417
ภาษาราชการ ภาษาบอสเนีย ภาษาเซอร์เบีย และภาษาโครเอเชีย
การปกครอง สาธารณรัฐ
 -  สมาชิกคณะประธานาธิบดี เนบอยชา รัดมานอวิช,
เชลีคอ คอมชิช,
บาคีร์ อีเซตเบกอวิช
 -  นายกรัฐมนตรี เวียคอสลัฟ เบวันดา
ประวัติศาสตร์บอสเนีย ก่อตั้งในปี 753 
 -  ราชอาณาจักรบอสเนีย 753 
 -  สมัย ออตโตมันและออสเตรีย-ฮังการี ยึดครอง 1463 (ออตโตมัน) / 1887 (ออสเตรีย) 
 -  ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย 1918 
 -  สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1943 
 -  สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา/ สงครามบอสเนีย 1992 
 -  สหพันธ์รัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1995 
 -  ข้อตกลงเดย์ตัน 1995 
พื้นที่
 -  รวม 51,129 ตร.กม. (124)
19,741 ตร.ไมล์ 
 -  แหล่งน้ำ (%) น้อยมาก
ประชากร
 -  ก.ค. 2548 (ประเมิน) 5,110,023 2 (112)
 -  2534 (สำมะโน) 4,354,911 
 -  ความหนาแน่น 79 คน/ตร.กม. (90)
205 คน/ตร.ไมล์
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
 -  รวม 28.26 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (104)
 -  ต่อหัว 6,800 ดอลลาร์สหรัฐ (96)
HDI (2550) 0.812 (สูง) (76)
สกุลเงิน คอนเวร์ทีบิลนามาร์คา (BAM)
เขตเวลา CEST (UTC+1)
 -  (DST) CEST (UTC+1)
โดเมนบนสุด .ba
รหัสโทรศัพท์ 387
Map Bih entities.png

บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (อังกฤษ: Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Bosna i Hercegovina) บางครั้งย่อเป็น Bosnia, BiH, БиХ เป็นประเทศบอลข่านตะวันตกที่มีภูเขามาก เมืองหลวงชื่อซาราเยโว เดิมเป็นหนึ่งในหกสาธารณรัฐของอดีตยูโกสลาเวีย ได้รับเอกราชในสงครามยูโกสลาเวียในช่วงทศวรรษ 1990 และเนื่องจากข้อตกลงเดย์ตัน จึงเป็นรัฐในอารักขาของชุมชนนานาชาติ ปกครองโดยตัวแทนระดับสูงที่เลือกโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ประวัติศาสตร์[แก้]

ยูโกสลาเวียเดิมประกอบด้วย 6 สาธารณรัฐ กล่าวคือ สาธารณรัฐสโลวีเนีย โครเอเทีย เซอร์เบีย บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา มอนเตนิโกร และมาซิโดเนีย และมณฑลอิสระโคโซโวและวอยโวดีนา ซึ่งเป็นมณฑลปกครองตนเอง

การเมือง[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ตามข้อตกลงเดย์ตัน ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาแบ่งเขตการบริหารหลักออกเป็น

1. รัฐอูนา-ซานา
2. รัฐพอซาวีนา
3. รัฐทุซลา
4. รัฐเซนีตซา-ดอบอย
5. รัฐบอสเนียนพอดรินเย
6. รัฐเซนทรัลบอสเนีย
7. รัฐเฮอร์เซโกวีนา-เนเรตวา
8. รัฐเวสต์เฮอร์เซโกวีนา
9. รัฐซาราเยโว
10. รัฐเวสต์บอสเนีย

1. เขตบันยาลูคา
2. เขตดอบอย
3. เขตบีเยลยีนา
4. เขตวลาเซนีตซา
5. เขตซาราเยโว-รอมานียา
6. เขตฟอตชา
7. เขตเทรบินเย

  • เขตเบิตช์โค เป็นหน่วยบริหารที่ปกครองตนเองภายใต้อำนาจอธิปไตยของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เป็นส่วนหนึ่งของทั้งสหพันธรัฐบอสเนียฯ และสาธารณรัฐเซิร์ปสกา

กองทัพ[แก้]

บอสเนียมีทหารกองประจำการประมาณ 10,000 นาย โดยบอสเนียวางกำลังทหารอยู่ตามแนวป่าและชายแดนประเทศ เพื่อป้องกันประเทศของตน บอสเนียจัดกลุ่มทหารตามป่าอยู่ประมาณ 3.000-4.000 คน ส่วนชายแดนมีประมาณ 5.000-10.000 คน รถถังใช้รุ่น t-55 และรถเกราะติดปืนกล55.ม.ม. ถึงบอสเนียจะมีกำลังทหารน้อย แต่ก็แข็งแกร่งมาก

ภูมิศาสตร์[แก้]

ชื่อทางการบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ( Bosnia and Herzegovina) เมืองหลวง ซาราเยโว ที่ตั้ง ทวีปยุโรป สมาชิกสหประชาชาติ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1992 ระบบการปกครอง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประธานาธิบดีเป็นประมุรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นประมุขรัฐบาล มีระบบพรรคการเมืองหลายพรรค เขตปกครอง 2 เขต 1 สาธารณรัฐ วันได้เอกราช 1 มีนาคม ค.ศ. 1992(จากยูโกสลาเวีย) ระบบกฎหมาย อิงระบบซิวิลลอว์ วันชาติ 25 พฤศจิกายน (ค.ศ. 1943) ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐสภา(สภาคู่) คือ สภาผู้แทนราษฎร และสภาประชาชน ฝ่ายตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ สิทธิการเลือกตั้ง อายุ 16 (มีงานทำ) สากล อายุ 18 ปี

เศรษฐกิจ[แก้]

ประชากร[แก้]


อ้างอิง[แก้]

แม่แบบ:บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา